ขยะอาหารก่อให้เกิดก๊าซมีเทนทำให้เกิดภาวะเรือนกระจกมากกว่าก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ถึง 25 เท่า
เป็นมิตรกับสิ่งเวดล้อมใช้จุลินทรีย์ในการย่อยสลาย
-ไม่ได้ใช้สารเคมีใด ๆ
-จุลินทรีย์มาจากประเทศเกาหลีใต้
-ได้รับการวิจัยพัฒนาโดยเฉพาะ
-พร้อมจดสิทธิบัตรฯ
ใช้งานง่ายทำงานเร็วประหยัดไฟไร้กลิ่นรบกวน
-เพียงใส่เศษอาหารลงเครื่องรอตักปุ๋ยออก
-ย่อยสลายเป็นปุ๋ยภายใน 24 ชม.
-ค่าไฟเฉลี่ยประมาณเดือนละ 100 บาท
-ไม่มีกลิ่นเน่าของเศษอาหารหรือหนอนหนูหรือแมลงมารบกวน
ขนาดพอเหมาะคุ้มค่าคุ้มคุณภาพ
-ความจุ 2 กก. / วันเหมาะสำหรับครอบครัวส่วนใหญ่
-ราคาย่อมเยาว์กว่ายี่ห้ออื่นกว่า 2.5 เท่า
-ราคาพอ ๆ กับเครื่องยี่ห้ออื่น แต่ความจุมากกว่าเท่าตัว
-เติมจุลินทรีย์เพียงครั้งแรกเพียงครั้งเดียว
-ไม่ต้องเปลี่ยนไส้กรองราคาแพงทุก 3 เดือน
-มีฟังค์ชั่นลดความชื้นและลดกลิ่น
-รับประกันคุณภาพสินค้า 1 ปี (ฟรีค่าแรงและอะไหล่)
COMPOSTER VS. DEHYDRATOR
COMPOSTER
- ใช้จุลินทรีย์ (microorganism) ย่อยสลายเศษอาหารให้เป็นปุ๋ย
- แทบจะไม่ต้องบำรุงรักษาเลยไม่ต้องเปลี่ยนไส้กรองแค่นำมาล้างน้ำเท่านั้น
- ปุ๋ยใช้ได้เลยไม่ต้องผสมดินก่อน
- สามารถใส่เศษอาหารได้ตลอดเหมือนการใช้ตู้เย็น
DEHYDRATOR
- ใช้วิธีตัดเศษอาหารและทำให้แห้งไม่ได้ย่อยสลายถ้าโดนน้ำก็จะเน่าเหม็นได้อีก
- Running cost สูงมากเพราะต้องเปลี่ยนไส้กรองราคาหลักพันทุกๆ 3 เดือน
- ต้องนำไปฝังกลบในดินอาจมีการคุ้ยโดยหมาแมวได้
- ทำเป็นรอบ ๆ เหมือนหม้อหุงข้าว.
หลักการทำงานของเครื่อง
จุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิตทานอาหารเหมือน ๆ กับเรา แต่จะทานของเหลือจากเรา
1.ใส่เศษอาหารลงไปในเครื่อง
2.หลังจากปิดฝาแล้วเศษอาหารก็จะถูกกวนให้ทั่วและระบบควบคุมอัจฉริยะของเครื่องก็จะปรับอุณหภู ขึ้นเพื่อ 7/18 ให้เหมาะกับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์เพื่อการย่อยสลายอย่างมีประสิทธิภาพ
3.พอเครื่องทำงานสักพักใหญ่ ๆ ประมาณ 24 ชม. ขยะเศษอาหารก็จะโดนย่อยสลายไปจนเกือบหมดแล้วส่วนความชื้นและกลิ่นก็จะโดนกรองและกำจัดกลิ่นก่อนที่จะโดนดูดทิ้งออกมาทำให้ไม่เกิดกลิ่นรบกวนหรือเป็นอันตรายใด ๆ ทั้งสิ้น
4.ถ้าคำนวนจากบ้านที่มีคนอาศัยอยู่ 6 คนก็จะใช้เวลาประมาณ 1-2 เดือนกว่าเครื่องจะเต็มเมื่อระดับของปุ๋ยมาถึงขีดแล้วก็ให้ตักปุ๋ยออกจากเครื่อง
การใช้งาน
“ให้คิดว่าเครื่องนี้เป็นกระเพาะของบ้านไม่ใช่ถังขยะ”
การใส่เศษอาหาร
-ให้กรองของเหลวออกก่อนใส่ลงเครื่อง
-ไม่ใส่พวกของแข็งต่าง ๆ ลงในเครื่องเช่น:
-กระดูกเปลือกหอย / ปูซังข้าวโพดเม็ดผลไม้ ฯลฯ
-ไม่ควรใส่เศษอาหารเกินความจุของเครื่องในแต่ละวัน
-หากสภาพปุ๋ยในถังมีความชื้นสูงเกาะเป็นก้อนให้กดปุ่ม “ลดขึ้น” ช่วย
-ต้องเสียบปล็กเปิดเครื่องไว้ตลอด
การตักปุ๋ย
-ไม่จำเป็นต้องตักปุ๋ยออกทุกวันแนะนำให้ปุ๋ยเต็มถังแล้วตักออกทีเดียว
-ก่อนตักปุ๋ยออกควรดูให้แน่ใจว่าปุ๋ยแห้งพอสมควร (ความชื้น 15-20%) แนะนำให้กดปุ่ม “ลดขึ้น” ช่วย
-ห้ามตักปุ๋ยเลยแกนใบพัดกวนเหลือปุ๋ยไว้เป็นหัวเชื้อต่อไป
การใช้ปุ๋ย
-ปุ๋ยที่ได้จะเป็นปุ๋ยออแกนิคแบบเข็มขั้นควรใช้ แต่น้อย-หากจะใช้เป็นดินปลูกแนะนำให้ผสมดิน 10/1
(ดิน / ปุ๋ย)
ข้อควรระวัง
-แยกน้ำออกก่อน
-ไม่ไส่ของที่มีความแข็งลงเครื่องเช่นกระดูกเปลือกหอยกระดองปูซังข้าวโพด ฯลฯ
-ต้องเสียบปลั้กไฟไว้ตลอดเวลาการใช้งาน
-ไม่ให้ตักปุ๋ยออกจนหมดถังห้ามตักเกินแกนใบพัดกวน (แนวนอน)
-ไม่ใส่เศษอาหารเกินปริมาณความจุ 2 กก / วัน
-ควรรอให้ปุ๋ยในถังย่อยสลายหมดและแห้งก่อนตักออก
-ไม่เอาของมาวางใต้เครื่องหรือรองด้วยโฟมของกล่องเครื่องเพราะจะไปบังที่ระบายอากาศ
-ปุ๋ยที่ได้จะเป็นปุ๋ยออแกนิค 100% เข้มข้นมากควรใช้ แต่เพียงเล็กน้อยหรือผสมดิน 10/1 ส่วน
-ไม่ไส่ของเค็มจัดเปรี้ยวจัดเผ็ดจัดเช่นพริกป่นครึ่งกก. เป็นต้น